วันพุธที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558


บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 14
วิชา การจัดประสบการศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์กฤตธ์ตฤณน์  ตุ๊หมาด
(กลุ่มเรียน 104)    
 เวลาเรียน วันอังคาร เวลา 15:0017:30.  
  วันพฤหัสบดี  เวลา 15:00  16:40 .



ความรู้ที่ได้รับ
วัน อังคาร ที่ 7 เดือน เมษายน  พ.. 2558


                    วันนี้เป็นการนำเสนอแผนการสอนที่อาจารย์ได้มอบหมายให้ทำในสัปดาห์ที่แล้วและดิฉันได้เขียนแผนการสอนการจัดประสบการณ์ ศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัยออกมาได้ ดังนี้


ชื่อหน่วย    เต่าน้อยน่ารัก        ชั้นอนุบาลปีที่      2              กิจกรรม สร้างสรรค์


วัน
กิจกรรม


จันทร์
1. กิจกรรมฝนภาพด้วยสีเทียน
2. กิจกรรมฉีกปะกระดาษ
3. กิจกรรมวาดภาพอิสระด้วยสีน้ำ
4.  กิจกรรมพิมพ์ภาพจากวัสดุที่หาง่าย  (กิจกรรมพิเศษ)


อังคาร
1. กิจกรรมฝนภาพด้วยสีเทียน
2. กิจกรรมฉีกปะกระดาษ
3. กิจกรรมวาดภาพอิสระด้วยสีน้ำ
4.  กิจกรรมการเพ้นท์ก้อนหิน  (กิจกรรมพิเศษ)


พุธ
1. กิจกรรมฝนภาพด้วยสีเทียน
2. กิจกรรมฉีกปะกระดาษ
3. กิจกรรมวาดภาพอิสระด้วยสีน้ำ
4.  กิจกรรมเตาน้อยจากจานกระดาษ  (กิจกรรมพิเศษ)


พฤหัสบดี
1. กิจกรรมฝนภาพด้วยสีเทียน
2. กิจกรรมฉีกปะกระดาษ
3. กิจกรรมวาดภาพอิสระด้วยสีน้ำ
4.  กิจกรรมโมบายเต่าน้อย  (กิจกรรมพิเศษ)


ศุกร์
1. กิจกรรมฝนภาพด้วยสีเทียน
2. กิจกรรมฉีกปะกระดาษ
3. กิจกรรมวาดภาพอิสระด้วยสีน้ำ
4.  กิจกรรมลูกชุบพาเพลิน  (กิจกรรมพิเศษ)




แผนการจัดประสบการณ์    ชั้น  อนุบาลปีที่      2              กิจกรรม    สร้างสรรค์
วัตถุประสงค์
สาระการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
การบูรณาการ
สาระที่ควรเรียนรู้
ประสบการณ์สำคัญ
1. เพื่อพัฒนาการประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมือและตา
2. เกิดความเพลิดเพลิน ชื่นชมสิ่งสวยงาม
3. ส่งเสริมการแสดงออกและความมั่นใจในตนเอง
4. พัฒนาความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. พัฒนาภาษา อธิบายผลงานของตนเองได้
6. สามารถทำลูกชุบได้
1. ฝนภาพด้วยสีเทียน
2. ฉีกปะกระดาษ
3. วาดภาพอิสระด้วยสีน้ำ
4. ลูกชุบพาเพลิน (กิจกรรมพิเศษ)
ด้านร่างกาย
1. การเขียนภาพและเล่นกับสี
2. การปั้นและประดิษฐ์สิ่งต่างๆ
ด้านอารมณ์-จิตใจ
3. การชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม
ด้านสังคม
4. การวางแผน ตัดสินใจเลือก และลงมือปฏิบัติ
5. การมีโอกาสได้รับรู้ความรู้สึก ความสนใจและความต้องการของตนเองและผู้อื่น
ด้านสติปัญญา
6.การรู้จักสิ่งต่างๆด้วยการมอง ฟัง สัมผัส ชิมรส และดมกลิ่น
7. การรับรู้และแสดงความรู้สึกผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่นและผลงาน

ขั้นนำ
1. จัดโต๊ะทำกิจกรรมออกเป็น 6 กลุ่ม โดยกำหนดให้เป็นโต๊ะฝนภาพด้วยสีเทียน 2 กลุ่ม โต๊ะฉีกปะกระดาษ 1 กลุ่ม โต๊ะวาดภาพอิสระด้วยสีน้ำ 1 กลุ่ม และโต๊ะลูกชุบพาเพลิน 2 กลุ่ม (กิจกรรมพิเศษ)
2. แนะนำวัสดุ อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมต่างๆ ให้เด็กๆ ฟัง
ขั้นสอน
3. อธิบายกิจกรรมพร้อมทั้งสาธิตการทำกิจกรรมลูกชุบพาเพลิน โดยการนำถั่วที่พร้อมปั้นมาปั้นเป็นรูปเ่าเสร็แล้วใช้สีผสมอาหารทาให้สวยงามแล้วนำไปชุบกับวุ้นที่้มไว้แล้ว
 4. ให้เด็กเลือกทำกิจกรรมต่างๆ ที่กำหนดให้ ตามความสนใจ เมื่อทำเสร็จแล้ว นำผลงานมาส่งพร้อมบอก อธิบายผลงานให้ครูฟัง แล้วนำผลงานไปเก็บในที่เก็บผลงาน
5. ให้เด็กหมุนเวียนทำกิจกรรมต่างๆ จนครบทุกกิจกรรม
ขั้นสรุป
6. เด็กชิมลูกชุบที่นเองทำและบอกถงรสชาิของลูกชุบที่ได้ชิมไป
7. ช่วยกันเก็บวัสดุ อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมเข้าที่ให้เรียบร้อย
1. กระดาษเอ 4
2. สีเทียน
3. ใบไม้
4. กระดาษสี
5. กาว
6. สีน้ำ
7. ถั่วเหลือง้มสุกพร้อมปั้น
8. สีผสมอาหาร
9. ผ้าคลุมโต๊ะ
10. ผงวุ้น,น้ำ
1. การใช้กล้ามเนื้อมือและตา
2. การปฏิบัติกิจกรรม
3. ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
4. การอธิบายชื่อผลงาน อธิบายรสชา
5. การเก็บของเข้าที่เมื่อเลิกใช้งาน
6. การทำลูกชุบ
วิทยาสาสตร์


การสะท้อนตนเองหลังการสอน
..................................................................................................................................................



แผนการจัดประสบการณ์    ชั้น  อนุบาลปีที่      2              กิจกรรม    สร้างสรรค์
วัตถุประสงค์
สาระการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
การบูรณาการ
สาระที่ควรเรียนรู้
ประสบการณ์สำคัญ
1. พัฒนาการประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมือและตา
2. เกิดความเพลิดเพลิน ชื่นชมสิ่งสวยงาม
3. ส่งเสริมการแสดงออกและความมั่นใจในตนเอง
4. พัฒนาความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สามารถประดิษฐ์เตาน้อยจากจานกระดาษ ได้
1. ฝนภาพด้วยสีเทียน
2. ฉีกปะกระดาษ
3. วาดภาพอิสระด้วยสีน้ำ
4. กิจกรรมเตาน้อยจากจานกระดาษ  (กิจกรรมพิเศษ)
ด้านร่างกาย
1. การเขียนภาพและเล่นกับสี
2. การปั้นและประดิษฐ์สิ่งต่างๆ
ด้านอารมณ์-จิตใจ
3. การชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม
ด้านสังคม
4. การวางแผน ตัดสินใจเลือก และลงมือปฏิบัติ
5. การมีโอกาสได้รับรู้ความรู้สึก ความสนใจและความต้องการของตนเองและผู้อื่น
ด้านสติปัญญา
6. การรับรู้และแสดงความรู้สึกผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่นและผลงาน
7. การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านสื่อวัสดุ ต่างๆ

ขั้นนำ
1. จัดโต๊ะทำกิจกรรมออกเป็น 6 กลุ่ม โดยกำหนดให้เป็นโต๊ะฝนภาพด้วยสีเทียน 2 กลุ่ม โต๊ะฉีกปะกระดาษ 1 กลุ่ม โต๊ะวาดภาพอิสระด้วยสีน้ำ 1 กลุ่ม และโต๊ะเตาน้อยจากจานกระดาษ  2 กลุ่ม (กิจกรรมพิเศษ)
2. แนะนำวัสดุ อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมต่างๆ ให้เด็กๆ ฟัง
ขั้นสอน
3. อธิบายกิจกรรมพร้อมทั้งสาธิตการทำกิจกรรมเตาน้อยจากจานกระดาษโดยการัดกระดาษสีให้เป็นส่วนหัวเ่าทากาวแล้วนำมาิดจานกระดาษในส่วนที่ะทำเป็นหัวและนำไม้ไอศกรีมมาทำเป็นขาเ่าและนำานกระดาษอีกอันมาประกบกัน เสร็จแล้วตกแต่งให้สวยงามตามจินตนาการ
4. ให้เด็กเลือกทำกิจกรรมต่างๆ ที่กำหนดให้ ตามความสนใจ เมื่อทำเสร็จแล้ว นำผลงานมาส่งพร้อมบอก อธิบายผลงานให้ครูฟัง แล้วนำผลงานไปเก็บในที่เก็บผลงาน
5. ให้เด็กหมุนเวียนทำกิจกรรมต่างๆ จนครบทุกกิจกรรม
ขั้นสรุป
6. เด็กออกมานำเสนอผลงานที่ทำให้เพื่อนๆ ฟัง
7. ช่วยกันเก็บวัสดุ อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมเข้าที่ให้เรียบร้อย
1. กระดาษเอ 4
2. สีเทียน
3. กระดาษทรายที่มีรูป่างๆ
4. กระดาษสี
5. กาว
6. สีน้ำ
7. จานกระดาษ
8. ไม้ไอศรีม
9. ผ้าคลุมโต๊ะ
1. การใช้กล้ามเนื้อมือและตา
2. การปฏิบัติกิจกรรม
3. ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
4. การอธิบายชื่อผลงาน อธิบายผลงาน
5. การเก็บของเข้าที่เมื่อเลิกใช้งาน
6. การประดิษฐ์เตาน้อยจากจานกระดาษ 
วิทยาสาสตร์


การสะท้อนตนเองหลังการสอน
..................................................................................................................................................





เมื่อนำเสนอเสร็จอาจารย์และเพื่อนๆก็ได้ให้คำแนะนำและข้อที่ควรแก้ไข ดังนี้

1. กิจกรรมหลัก 3 กิจกรรมที่ให้เด็กทำทุกวันควรที่จะให้เด็กทำเฉพาะกิจกรรมพื้นฐาน เช่น การวาดภาพด้วยสีเทียน สีช็อก สีน้ำ  การฉีกตัดปะกระดาษ การปั้น ควรเอาการฝนไปอยู่ในกิจกรรมพิเศษจะดีและเหมาะสมกว่า
2. วัตถุประสงค์กับการวัดและประเมินผลเด็กนั้นควรสอดคล้องกันทุกข้อ
3. วัตถุประสงค์ไม่ควรเอามาเยอะเอามาเฉพาะหลักๆก็พอ

4. การบูรณาการ สามารถบูรณาการเข้ากับ วิชา วิทยาศาสตร์ ได้เพราะสอนเด็กให้รู้เรื่องของการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกายเป็นของเหลว (วุ้น) นั้นเอง




การประเมินการเรียนการสอน
ตนเอง = เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อยมีความพร้อมในการนำเสนอแผนเป็นอย่างมากออกไปนำเสนอก่อนเพื่อนเลย นำเสนอเสร็จตั้งใจฟังเพื่อนได้แค่แปบเดียวหลับในห้อง อิอิ
 เพื่อน  = เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาเรียบร้อย มีความตั้งใจในการนำเสนอแผนการสอนกันทุกคน บางคนก็ช่วยอาจารย์แนะนำเพื่อนบางคนนำเสนอเสร็จก็ไม่ฟังเพื่อนก็มี
 อาจารย์ = อาจารย์เข้าสอนตรงเวลาแต่งกายสุภาพเรียบร้อยให้คำแนะนำและให้ข้อเสนอแนะในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ ศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัยกับนักศึกษาทุกคนเป็นอย่างดี


 การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
- สามารถนำเอาข้อเสนอแนะจากอาจารย์และเพื่อนๆไปปรับปรุงแก้ไขในการเขียนแผนครั้งต่อไปได้
- สามารถนำเอาแผนการสอนของเพื่อนที่นำเสนอมานั้นไปปรับใช้ในอนาคตได้
- สามารถนำเอาแผนการสอนของตัวเองไปปรับใช้ในการสอนเด็กในอนาคตได้